การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นงานในงานวิศวกรรม (SOLIDWORKS SIMULATION)
หมวดหมู่ : 3D Engineering Analysis, CAE, Simulation
เกี่ยวกับหลักสูตร
เป็นคอร์สเรียนการวิเคราะห์ความแข็งแรงของชิ้นงานโดยมีเนื้อหาละเอียดมาก ทั้งการวิเคราะห์ชิ้นงานเดียว การวิเคราะห์ชิ้นงานประกอบ การวิเคราะห์แบบความถูกต้องสูงโดยใช้ SOLID Element การวิเคราะห์ชิ้นงานบางด้วย Shell Element การวิเคราะห์งานโครงสร้าง ด้วย Beam Element ในคลาสจะมีการแนะนำการสรุปผลลัพธ์อย่างละเอียดว่าชิ้นงานพังหรือไม่ เสียรูปเท่าไหร่และมีความปลอดภัยแค่ไหน รวมทั้งการหาขนาดที่เหมาะสมเบื้องต้น คอร์สนี้เหมาะสำหรับผู้ออกแบบที่ต้องการทราบว่างานออกแบบมีความปลอดภัยต่อการรับแรงหรือไม่ รวมไปถึงการแก้ไขปัญหาของงานที่สร้างเสร็จแล้วว่าสามารถแก้ไขงานได้อย่างไร ทำได้ทั้งลดต้นทุนกรณี Over Spec หรือ แก้ไขปัญหาเมื่องานมีความแข็งแรงน้อยเกินไป
เหมาะสำหรับ : วิศวกรผู้ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในด้านต่างๆ ,อาจารย์ นักวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการสอน SolidWorks นักศึกษาด้านวิศวกรรม
เวอร์ชั่นที่ใช้สำหรับอบรม : SolidWorks เวอร์ชั่น 2019 ขึ้นไป
เหมาะสำหรับ : วิศวกรผู้ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในด้านต่างๆ ,อาจารย์ นักวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการสอน SolidWorks นักศึกษาด้านวิศวกรรม
เวอร์ชั่นที่ใช้สำหรับอบรม : SolidWorks เวอร์ชั่น 2019 ขึ้นไป
* สำหรับลูกค้านิติบุคคล ที่ต้องการออกใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / ทำหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย 3% กรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ *
1. กรณีต้องการใบกำกับภาษี กรุณาแจ้งข้อมูลกลับภายใน 2 วัน นับตั้งแต่วันที่ชำระค่าอบรม หากเกินระยะเวลาที่กำหนดทางสถาบันจะไม่ออกเอกสารย้อนหลังทุกกรณี
2. ลูกค้านิติบุคคล สามารถทำหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย 3% และนำส่งให้กับทางสถาบัน
3. สอบถามข้อมูลได้ที่ อีเมล์ [email protected] หรือติดต่อเจ้าหน้าที่ 063-8069515 ,02-7447827-8 ในเวลาทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00-17.00 น.
บทที่ 1 การวิเคราะห์ชิ้นงานเบื้องต้น
13 บทเรียน
- Download Training Files
- อธิบายเนื้อหาบทเรียน
- ข้อแนะนำเบื้องต้น
- กำหนด Simulation Option
- เลือก New Study และ กำหนดวัสดุ
- กำหนดจุดจับยึดด้วย Fixture
- กำหนดแรงกระทำด้วย External Load
- การสร้าง Mesh
- วิเคราะห์ชิ้นงานแบบ Default Analysis
- วิเคราะห์ชิ้นงานแบบ Fine Analysis
- วิเคราะห์ชิ้นงานแบบ Default ร่วมกับ Apply Mesh Control
- การจัดการผลลัพธ์และสรุปการวิเคราะห์
- แบบฝึกหัด spring constant
บทที่ 2 การใช้ mesh control และพิจารณาความเข้มข้นของ Stress
6 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- กำหนดจุดจับยึด แรงและ mesh
- การทำ mesh control และ compare study
- การใช้ฟังก์ชัน Stress Hot Spot กับ Stress Singularity
- การวิเคราะห์แบบมี Fillet ที่จุดวิกฤต
- สรุปบทที่ 2
บทที่ 3 การวิเคราะห์งานประกอบเบื้องต้น
8 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- เริ่มวิเคราะห์ กำหนดวัสดุและกำหนด Contact
- กำหนดด Fixture Load และ Mesh
- การวิเคราะห์และการเช็คผลลัพธ์
- เปรียบเทียบเวลาในการวิเคราะห์ระหว่าง Contact กับ Bonded
- การใช้ Local Interaction
- สรุปบทที่ 3
- แบบฝึกหัด Two ring assembly
บทที่ 4 การวิเคราะห์ชิ้นงานสมมาตรและชิ้นงานที่ไม่มีจุดจับยึด
6 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การลดรูปชิ้นงาน
- การใช้ฟังก์ชัน Shrink Fit และ Symmetry
- สร้าง mesh และวิเคราะห์ผลลัพธ์
- การใช้ Soft Spring และ การ Plot Hoop Stress
- สรุปบทที่ 4
บทที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบที่ยึดกันด้วย Connector และการปรับความละเอียดของ Mesh
14 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การลดรูปงานประกอบ
- กำหนดวัสดุ
- กำหนดผิวสัมผัสหลาย ๆ ผิวในครั้งเดียว
- การยึดชิ้นงานด้วย Bolt Connector
- การสร้าง Virtual wall และ Foundation Bolt
- การใช้ฟีเจอร์ Contact offset กับ Pin Connector
- การใช้คำสั่ง Remote Load
- การวิเคราะห์แบบ Draft quality mesh
- การวิเคราะห์แบบ High quality mesh
- การเช็คค่าแรงที่เกิดขึ้น ใน Pin และ Bolt
- สรุปบทที่ 5
- แบบฝึกหัด Lift Assembly part 1
- แบบฝึกหัด Lift Assembly part 2
บทที่ 6 Bonded Mesh Option
5 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การวิเคราะห์แบบแยกจุด Node
- การวิเคราะห์แบบมีจุด Node ร่วมกัน
- การใช้ฟีเจอร์ Cyclic Symmetry
- สรุปบทที่ 6
บทที่ 7 การวิเคราะห์ชิ้นงานบาง
10 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การวิเคราะห์แบบ Solid Element
- การวิเคราะห์แบบ shell เปรียบเทียบกับ solid
- การทำ Shell แบบเลือกผิวชิ้นงาน
- Shell Alignment กับ Reaction Force
- Shell Alignment กับ Reaction Force
- เริ่มวิเคราะห์ shell จาก Sheet Metal
- การกำหนดคุณสมบัติวัสดุที่แตกต่างกันในแนวตั้งฉาก
- ดูผลลัพธ์การวิเคราะห์
- สรุปบทที่ 7
บทที่ 8 การวิเคราะห์แบบผสมระหว่าง shell กับ solid
6 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- กำหนด shell material และ contact
- กำหนด Advance fixture
- กำหนดแรงดัน และ การแก้ไข mesh fail
- การปรับ mesh ให้เหมาะสม กับการเช็คผลลัพธ์
- สรุปบทที่ 8
บทที่ 9 การวิเคราะห์งานแบบ Beam Element
5 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- เริ่มวิเคราะห์ชิ้นงาน
- กำหนด Material Fixture Load และ ทำการวิเคราะห์
- เช็คผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์
- สรุปบทที่ 9
บทที่ 10 การวิเคราะห์ mesh ผสมระหว่าง solid shell กับ beam
6 บทเรียน
- การวิเคราะห์ mesh ผสมระหว่าง solid shell กับ beam
- การปรับแก้ Element ให้เหมาะสม
- การทำ mesh กับ mesh alignment
- กำหนด Contact Fixture และ Foce
- เช็คผลลัพธ์ของการวิเคราะห์แบบ Mixed Mesh
- สรุปบทที่ 10
บทที่ 11 การใช้ฟังก์ชัน Design Study
6 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การกำหนดแรงเป็นตัวแปร
- การกำหนดเงื่อนไขโดยใช้ Sensor
- การกำหนดความหนาเป็นตัวแปร
- การเช็คผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์
- สรุปบทที่ 11
บทที่ 12 การวิเคราะห์ Stress เนื่องจากความร้อน
5 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การกำหนดวัสดุแบบ Temperature dependent
- กำหนด input สำหรับการวิเคราะห์ความร้อน
- การเช็คผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์
- สรุปบทที่ 12
บทที่ 13 การใช้ฟังก์ชัน Adaptive
5 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- ทำการวิเคราะห์ด้วยฟังก์ชัน Mesh Control
- วิเคราะห์ด้วยฟังก์ชัน h-adaptive
- วิเคราะห์ด้วยฟังก์ชัน p-adaptive และ compare result
- สรุปบทที่ 13
บทที่ 14 Large Deisplacement Analysis
4 บทเรียน
- เนื้อหาบทเรียน
- การวิเคราะห์แบบ Small displacement
- การวิเคราะห์แบบ Large displacement
- สรุปบทที่ 14